“ศูนย์วิจัยเศรษฐกิจและธุรกิจ” หรือ EIC ธนาคารไทยพาณิชย์ ได้ออกบทวิเคราะห์ภายใต้สถานการณ์ปัจจุบันที่สัดส่วนหนี้ครัวเรือนไทยต่อ GDP ยังสูง ส่งผลทำให้ครัวเรือนไทยจำนวนมากยังคงมีความเปราะบางจากปัญหาหนี้สูง EIC ประเมินความเปราะบางทางการเงินของไทยในระดับครัวเรือนด้วย Machine learning พบว่า “ครัวเรือนเปราะบาง” หรือ ครัวเรือนที่มีปัญหาหนี้สูงเมื่อเทียบกับรายได้และทรัพย์สิน มีจำนวนถึง 2.1 ล้านครัวเรือน เพิ่มขึ้นจาก 1.7 ล้านครัวเรือน ในช่วงก่อนวิกฤติโควิดปี 2562 คิดเป็นอัตราการเพิ่มขึ้นถึง 24%

ทั้งนี้ส่วนใหญ่ของครัวเรือนเปราะบางเป็นกลุ่มชนชั้นกลาง คือ มีรายได้สูงกว่าค่าเฉลี่ย แต่กลับมีความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ โดยจากการศึกษาพบว่า การเป็นครัวเรือนเปราะบางทำให้มีโอกาสประสบปัญหารายได้ไม่พอใช้จ่ายเพิ่มขึ้นมากกว่า 30%คำพูดจาก เว็บสล็อตทดลองเล่น

แนวโน้มในระยะข้างหน้า ปัญหาความเปราะบางใช้เวลานานในการแก้ไข ครัวเรือนเปราะบางมีปัญหาจากการมีหนี้สูงเมื่อเทียบกับรายได้หรือสินทรัพย์ ทำให้การปลดหนี้เพื่อหลุดพ้นจากความเปราะบางทำได้ยากในเวลาอันสั้น ต้องอาศัยการมีรายได้ที่ต่อเนื่องควบคู่ไปกับความมีวินัยในการชำระหนี้อย่างสม่ำเสมอ ซึ่งมีแนวโน้มจะใช้เวลานาน EIC ประเมินว่าการหลุดพ้นความเปราะบางครัวเรือนอาจต้องใช้เวลาโดยเฉลี่ยถึงราว 13 ปี ภายใต้สมมติฐานว่าครัวเรือนจะคงความสามารถในการชำระหนี้เท่าเดิมกับในปัจจุบันและต่อเนื่องไปในระยะข้างหน้า เพื่อที่จะลดหนี้ลงมาในจุดที่บริหารจัดการได้

อย่างไรก็ตาม สิ่งที่น่ากังวลสำหรับสถานการณ์ความเปราะบางทางการเงินของครัวเรือนไทยในภาพรวม คือ ไม่ใช่ทุกครัวเรือนเปราะบางจะสามารถแก้ไขปัญหาได้โดยง่าย เพราะยังมีหลายข้อจำกัดที่สำคัญ ได้แก่ (1) การไม่มีเงินเหลือเก็บ ซึ่งเป็นปัญหาของครัวเรือนสัดส่วนถึงประมาณ 61.2% ของกลุ่มเปราะบาง คนกลุ่มนี้จะไม่มีเงินเหลือไปใช้หนี้เดิม หรืออาจต้องก่อหนี้ก้อนใหม่มาเพื่อใช้หนี้เก่า เสี่ยงก่อให้เกิดปัญหาเพิ่มเติม ซึ่งสุดท้ายอาจนำไปสู่ปัญหาหนี้เสียคำพูดจาก ทดลองปั่นสล็อต

(2) การเป็นครัวเรือนสูงอายุ ครัวเรือนเปราะบางประมาณ 15.1% มีคนทำงานในครัวเรือนใกล้วัยเกษียณ ทำให้ระยะเวลาในการหารายได้มาเพื่อลดความเปราะบางมีจำกัด อาจต้องทำงานจนเลยวัยเกษียณ เพื่อให้สถานะทางการเงินกลับสู่ภาวะปกติ

(3) การมีข้อจำกัดในการเข้าถึงแหล่งเงินทุนในระบบ ถือเป็นอีกความท้าทายสำหรับหลายครัวเรือน ซึ่งทำให้บางส่วนอาจต้องหันไปพึ่งพาหนี้นอกระบบซึ่งมักมีดอกเบี้ยสูงที่ทำให้ภาระการชำระหนี้สูงตามไปด้วย เป็นสาเหตุสำคัญหนึ่งของความเปราะบางในหลายครัวเรือน

ปัญหาค่าครองชีพและดอกเบี้ยขาขึ้นในปัจจุบันมีแนวโน้มทำให้การแก้ไขปัญหาความเปราะบางยากขึ้นและกินเวลานานขึ้น การเร่งตัวของค่าครองชีพจากปัญหาเงินเฟ้อทั่วโลก และแนวโน้มอัตราดอกเบี้ยขาขึ้นเพื่อสกัดเงินเฟ้อ ล้วนแล้วแต่ส่งผลโดยตรงต่อปัญหาความเปราะบางทางการเงินของภาคครัวเรือน โดยจะส่งมีกลไกการส่งผลใน 3 ด้านประกอบด้วย

(1) รายจ่ายที่เพิ่มขึ้นทำให้เงินเหลือไปใช้หนี้ลดลง EIC ทำการวิเคราะห์ด้วยสมมติฐานประมาณการเศรษฐกิจล่าสุดพบว่า สถานการณ์ค่าครองชีพในปัจจุบันส่งผลทำให้อัตราการออมของครัวเรือนไทยลดลงจาก 15.6% เป็น 10.0% โดยครัวเรือนที่รายได้ไม่พอรายจ่ายมีจำนวนเพิ่มขึ้นจาก 7.1 เป็น 8.4 ล้านครัวเรือน ส่งผลทำให้ในภาพรวมเงินส่วนเหลือไปใช้หนี้จะลดน้อยลง

(2) รายจ่ายที่เพิ่มขึ้นอาจทำให้บางครัวเรือนต้องกู้ยืมมามากขึ้น ครัวเรือนที่รายได้ไม่พอรายจ่ายมีแนวโน้มจะทำการกู้ยืมมาเพื่อชดเชยส่วนที่ขาด ผลสำรวจผู้บริโภคของ EIC ในช่วง 8-22 กรกฎาคม 2022 พบว่า 23.7% ของผู้ตอบแบบสอบถาม เลือกที่จะรับมือกับสถานการณ์ค่าครองชีพที่สูงขึ้น

โดยการกู้ยืมเพื่อนำมาใช้จ่าย โดยรวม EIC ประเมินว่าหนี้ครัวเรือนในปี 2565 จะเพิ่มขึ้นประมาณ 3-4% จากปี 2564 โดยหนี้เพื่อนำมาใช้เป็นสภาพคล่องจะเป็นประเภทหนี้ที่เติบโตได้ดีกว่าค่าเฉลี่ย ทั้งนี้ จากการศึกษายังพบด้วยว่า ในสถานการณ์เงินเฟ้อเร่งตัวนี้ครัวเรือนที่มีสถานะปกติราว 1.6 แสนครัวเรือน จะมีหนี้สูงขึ้นมากจนกลายเป็นครัวเรือนเปราะบาง โดยครัวเรือนกลุ่มนี้มักเป็นครัวเรือนที่มีอัตราการออมต่ำและมีสภาพคล่องสำรองไม่มาก ประกอบกับมีสัดส่วนการบริโภคด้านพลังงานและอาหารเมื่อเทียบกับรายได้ สูงกว่าค่าเฉลี่ย

(3) ดอกเบี้ยที่สูงขึ้นทำให้ภาระการชำระหนี้สูงขึ้น หรือการลดยอดหนี้ที่จะช้าลงจากการที่ต้องจ่ายส่วนของดอกเบี้ยสูงขึ้น ทำให้มีส่วนที่ไปลดต้นน้อยลง ภายใต้มูลค่าการผ่อนชำระเท่าเดิม โดย EIC คาดว่าอัตราดอกเบี้ยนโยบายของไทยจะทยอยปรับเพิ่มขึ้นอีกจากปัจจุบันที่ 1.0% ไปเป็น 2.0% ในช่วงปี 2566

การแก้ไขปัญหาความเปราะบางทางการเงินเป็นประเด็นระยะยาวที่จำเป็นต้องใช้หลายเครื่องมือประกอบกัน ทั้งการปรับโครงสร้างหนี้ให้เหมาะสมกับความสามารถในการชำระ การลดอุปสรรคต่อการเข้าถึงสินเชื่อในระบบ และการเพิ่มศักยภาพในการหารายได้

อย่างไรก็ดี EIC มองว่าการป้องกันปัญหาเป็นเรื่องที่สำคัญไม่แพ้กัน ครัวเรือนต้องหลีกเลี่ยงสถานการณ์ที่นำไปสู่ความเปราะบาง ซึ่งต้องใช้เวลานานในการแก้ไขและยังเสี่ยงนำไปสู่ปัญหาด้านการใช้จ่ายตามมา โดยการป้องกันอาจทำได้หลายวิธี ทั้งการสะสมสภาพคล่อง การทำประกันเพื่อลดความเสี่ยงจากเหตุการณ์ไม่คาดฝันที่จะสร้างผลกระทบต่อสถานะทางการเงิน ไปจนถึงการวางแผนการก่อหนี้ให้เหมาะสมกับความสามารถในการชำระ.

เปิด 3 สาเหตุ ‘ครัวเรือนไทยเปราะบาง’ ใช้เวลา 13 ปีกว่าจะหลุดพ้น

admin

Tags

1xbet highest payout 7 eleven philippines accept credit card affordable video card for gaming philippines best online casinos for us players best online slots websites bitcoin casino club casio cash register price philippines city of dreams casino dealer exam clark pampanga casino cod not available lazada fil games blackjack promo code free cash login free casino games that pay real cash gambling rehab philippines global live casino horse racing in the philippines how much do online casinos make how to do lotto online how to earn cash in coins ph how to get free 100 pesos in paymaya how to get load in paymaya how to hide name on gcash lazada fitness lazada payout legit bitcoin wallet in philippines live dealer baccarat madias hotel midashotelandcasino com midas hotel website midas spa extra service netent online casinos newcasino new online slots no 1 table tennis player in philippines online casino no deposit bonus keep what you win online pokies paysafe pagcor hiring dealer panalo data promo skrill gcash t rex free slot ผลตารางพรีเมียร์ลีก -สอบ กพ 65 วันไหน สวีเดน ออลสเวนส์คาน เว็บสล็อต -ดู บอล พรีเมียร์ ลีก ออนไลน์ ... สูตรหวยยี่กีรวย -k2 kingbet หวยเด็ด เลขเด็ด หวยไทยรัฐ แม่จำเนียร ทดลองเล่นสล็อต roma เพ อ ร์ ซี่ แจ็ ค สัน ทุก ภาค สูตรหวยยี่กี lottovip ตัวเดียว